รศ.ดร. อภิเชษฐ์ บุญสูง

ที่ปรึกษาหัวหน้าภาควิชาธรณีวิทยา ฝ่ายวางแผนฝึกงานและสหกิจศึกษา

Office: SCB3101-1

Publications in Scopus

Click to Scopus Site

Education Background

B.S. (Geology) Chiang Mai University, Thailand, 1994

M.S. (Geology) Chiang Mai University, Thailand, 1997
Ph.D. (Earth Sciences) University of Birmingham, UK, 2001

Areas of Expertise

Mineralogy; Igneous Petrology; Gemstone Deposits in Thailand; Organic Gems

About

     Dr. Boonsoong’s principal research interests lie in the fields of the igneous petrology, geochemistry, mineralogy and gemology. In addition to scientific research and teaching, he also serves as a department committee, graduate school committee and also gemology program committee. Dr. Boonsoong is currently a member of the Geological Society of Thailand, Science Society of Thailand Under the Patronage of His Majesty the King and the Geological Society of London. He mostly spends free time with his family, travelling, enjoy figure skating, roller ski and ice hockey.


 


IS & Thesis

  • Mineralogy and Petrogenesis of Common Opal from Lam Narai Volcanics, Lop Buri province,Ph.D. Geology (Expected 2024)
  • การศึกษาลักษณะทางอัญมณีวิทยาของอำพันที่ถูกระบุว่ามาจากประเทศพม่าและวิธีการเพิ่มคุณภาพอำพันโดยการให้ความร้อนผ่านทราย เพื่อให้อำพันมีสีเข้มขึ้น, B.S.Gemology (2017)
  • คุณสมบัติทางอัญมณี องค์ประกอบทางเคมี และ สาเหตุการเกิดสีของอัญมณสีสังเคราะห์ที่ขายในชื่อ Nanosital ทั้งหมด 11 สี, B.S.Gemology (2017)
  • วิทยาแร่และลักษณะทางอัญมณีของทูไลต์ที่ถูกระบุว่ามาจากประเทศนอร์เวย์, B.S.Gemology (2017)
  • การปรับปรุงคุณภาพปะการังสีดำให้เป็นสีทองโดยวิธีการฟอกสี โดยปะการังถูกระบุว่ามาจาก ประเทศเม็กซิโก, B.S.Gemology (2017)
  • ลักษณะทางอัญมณีวิทยาของออสเตอร์คอปเปอร์เทอร์คอยส์  ที่ถูกระบุว่ามาจากประเทศ สหรัฐอเมริกา, B.S.Gemology (2018)
  • วิทยาแร่ ลักษณะทางอัญมณีและสาเหตุการเกิดสี ของเซเรดไิบต์ที่ถูกระบุว่ามาจากประเทศเมียนมา, B.S.Gemology (2018)
  • เครื่องประดับเปอรานากันในภาคใต้ ประเทศไทย, B.S.Gemology (2018)
  • วิทยาแร่ ลักษณะทางอัญมณีวิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของไพไนต์ ที่ถูกระบุว่ามา จากประเทศเมียนมา, B.S.Gemology (2018)
  • วิทยาแร่สมบัติทางอัญมณีวิทยาและการจำแนกชนิดซากดึกดำบรรพ์ออโทเซอร์รสังที่คาดว่ามา จากประเทศโมร็อกโก, B.S.Gemology (2019)
  • สมบัติทางอัญมณีวิทยาและองค์ประกอบทางเคมี ของโคปอลจากประเทศมาดากัสการ์, B.S.Gemology (2019)
  • การศึกษาการทดลองย้อมสมุกน้ำจือด้วยสีจาก ธรรมชาติ, B.S.Gemology (2019)
  • การเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพและ องค์ประกอบทางเคมีของงาช้างและกระดูก นกกระจอกเทศ, B.S.Gemology (2019)
  • วิทยาแร่ ลักษณะทางอัญมณีวิทยา องค์ประกอบ ทางเคมีและสาเหตุการเกิดสีของสติชไทต์ที่ถูก ระบุว่ามาจากประเทศบราซิล, B.S.Gemology (2019)
  • ลักษณะทางอัญมณีวิทยา แร่วิทยา และสาเหตุ การเกิดปรากฎการณเหลือบแสงของแอมโมไนต์ จากประเทศมาดากัสการ์, B.S.Gemology (2019)
  • วิทยาแร่ไม้กลายเป็นหินจากจังหวัดน่าน, B.S.Gemology (2020)
  • การตรวจสอบคุณสมัติทางอัญมณและองค์ประกอบทางเคมีของเปลือกหอยมือเสือที่ถูกระบุว่ามาจากทวีปแอฟริกา, B.S.Gemology (2020)
  • ลักษณะทางอัญมณีวิทยาและองค์ประกอบทางเคมีของแร่เซเลสไทต์จากประเทศมาดากัสการ์, B.S.Gemology (2020)
  • วิทยาแร่และศิลาวรรณนาของนุมไมต์ที่ถูกระบุว่า มาจากเกาะกรีนแลนด์, B.S.Gemology (2020)
  • การออกแบบเครื่องประดับโดยใช้พลอยสปิเนลสีดำจากแหล่งพลอยในกาญจนบุรี, B.S.Gemology (2021)
  • ลักษณะทางอัญมณีวิทยา และองค์ประกอบทางเคมี ของวาริสไซต์ที่ถูกระบุว่าจากสาธารณรฐโดมินิก, B.S.Gemology (2021)
  • การทดลองเพิ่มคณภาพอำพันจากประเทศโปแลนด์โดยการต้มในน้ำมัน, B.S.Gemology (2021)
  • วิทยาแร่ลูกษณะทางอัญมณีวิทยาและองคประกอบทางเคมีของโรโดโครไซต์จากประเทศอารเจนตินา, B.S.Gemology (2021)
  • การตรวจแยกประเภทมกุเลียงท่ีซือขายในตลาด ออนไลน์, B.S.Gemology (2021)
  • การตรวจแยกปะการงจากตลาดออนไลน์, B.S.Gemology (2021)
  • การสำรวจความนิยมและเหตุผลในการเลือกซื้อกำไลหินของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่, B.S.Gemology (2022)
  • การเปรียบเทียบและลักษณะเฉพาะตัวของปะการังธรรมชาติและปะการังเลียนแบบในโทนสีแดงและสีส้ม, B.S.Gemology (2022)
  • การศึกษาอัญมณีที่ผ่านการ เคลือบสีด้วยเทคนิคอะควาออร่าทรีทเมนต์, B.S.Gemology (2022)
  • ลักษณะทางอัญมณีวิทยาและมลทินภายในของอำพัน และโคปอลจากประเทศมาดากัสการ์, B.S.Gemology (2022)
  • การตรวจวิเคราะห์มุกแกะเองจากแหล่งซื้อขายออนไลน์, B.S.Gemology (2022)
  • ลักษณะทางอัญมณีวิทยาองค์ประกอบทางเคมีและสาเหตุการเกิดสีของคาลแคนไทต์ท่ีถูกระบุว่ามาจากทวีปแอฟริกา, B.S.Gemology (2022)

Teaching Courses

-



ติดต่อเรา
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์. 053-943417, #1160-4
โทรสาร. 053-943444
Facebook: GeologicalSciencesCMU